เป้าหมายหลัก

เป้าหมาย (understanding Goal):เพื่อความเข้าใจต่อบิล การแปลความหมายของสัญลักษณ์หรือค่าเหล่านั้น รวมทั้งสามารถนำมาปรับในชีวิตประจำวันได้

วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

main

Mind mapping


คำถามหลัก (Big Questions)  :      - นักเรียนคิดว่าข้อมูล ตัวเลข  และสัญลักษณ์ในบิล มีที่มาและความสำคัญอย่างไร
                                                       - บิลต่างๆเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับชีวิตประจำวันของเราอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา :

ปัจจุบันนับว่าคนเรามักได้เกี่ยวข้องกับบิลต่างๆเสมอ เช่น บิลค่าไฟฟ้า บิลน้ำประปา  บิลค่าโทรศัพท์ บิลจากร้านสะดวกซื้อ ตั๋วค่าโดยสารต่างๆ เป็นต้น ซึ่งบิลไม่ได้เป็นเพียงหลักฐานการจ่ายเงินเท่านั้น  แต่ในบิลมีค่าของมาตรวัดหลายอย่างที่มีความเชื่อมโยงกับชุดความรู้ในชีวิตหลายเรื่อง ซึ่งเป็นทักษะชีวิตอย่างหนึ่งที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ
            ดังนั้นจึงจำเป็นที่นักเรียนเรียนรู้ เพื่อความเข้าใจต่อบิล การแปลความหมายของสัญลักษณ์หรือค่าเหล่านั้น รวมทั้งสามารถนำมาปรับในชีวิตประจำวันได้


เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goal) :

เพื่อความเข้าใจต่อบิล การแปลความหมายของสัญลักษณ์หรือค่าเหล่านั้น  รวมทั้งสามารถนำมาปรับในชีวิตประจำวันได้ 
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ  PBL (Problem Based Learning)
หน่วย   "ความลับในบิล"
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  Quarter 2  ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2558
Week
Input
Process
Output
Outcome
กิจกรรมระยะยาว
1


โจทย์ :
 - สร้างฉันทะ แรงบันดาลใจ/ ปะทะปัญหา
การออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
เลือกหัวข้อ
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
 - ปฏิทินการเรียนรู้
 - Mind mapping ก่อนเรียน

Key Questions
- นักเรียนเห็นอะไรในบิล และได้เรียนรู้อะไรบ้าง
- จากข่าวที่นักเรียนอ่านเกิดอะไรขึ้น ส่งผลอย่างไร และนักเรียนมีแนวทางแก้ไขอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าบิลที่ตนเองเคยเห็นหรือได้รับ ในชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้
- นักเรียนคิดว่าควรจะตั้งชื่อ หน่วย นี้ให้เป็น PBL และน่าสนใจได้อย่างไร


เครื่องมือคิด
Brainstorms : การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบิล
Think Pair Share : บิลที่ตนเองรู้จักหรือเคยได้รับ
Card & Chart : เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think  Pair Share:  สิ่งที่รู้แล้วและ สิ่งที่อยากรู้ 
Brainstorms :   ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind  Mapping :  สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ตั๋วรถไฟ/รถทัวร์
     ตั๋วเครื่องบิน
     ตั๋วหนัง
     ตั๋วจำนำ
     บิลค่าไฟฟ้า
     บิลน้ำประปา
     บิลค่าโทรศัพท์
     บิลจากร้านสะดวกซื้อ
- ข่าว  บทความ
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- เขียนบิลที่นักเรียนรู้จักในชีวิตประจำวัน
- ครูนำบิลต่างๆมาให้นักเรียนดู                               ตั๋วรถไฟ/รถทัวร์
ตั๋วเครื่องบิน
ตั๋วหนัง
ตั๋วจำนำ
บิลค่าไฟฟ้า
บิลน้ำประปา
บิลค่าโทรศัพท์
บิลจากร้านสะดวกซื้อ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  นักเรียนเห็นอะไรในบิล และได้เรียนรู้อะไรบ้าง
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบิล
- ครูให้นักเรียนอ่านข่าวเกี่ยวกับการเรียนร้องสิทธิ์ผู้บริโภค
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  จากข่าวที่นักเรียนอ่านเกิดอะไรขึ้น ส่งผลอย่างไร และนักเรียนมีแนวทางแก้ไขอย่างไร
- นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์ข่าวรวมทั้งแสดงความคิดเห็นจากข่าวร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าบิลที่ตนเองเคยเห็นหรือได้รับ ในชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง
- นักเรียนแต่ละคนเขียนบิลที่ตนเองรู้จักในกระดาษ หลังจากนั้นนักเรียนจับคู่ร่วมกันหาสิ่งที่มีเหมือนกันพร้อมทั้งนำเสนอให้เพื่อนและครูฟัง ผ่านเครื่องมือคิด Think Pair Share
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะมีวิธีในการจัดหมวดหมู่หรือประเภทของบิลอย่างไร พร้อมให้เหตุผลประกอบ                                             - นักเรียนแต่ละคนช่วยกันจัด หมวดหมู่หรือประเภทของบิลพร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
 - ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด 
นักเรียนคิดว่าควรจะตั้งชื่อ หน่วย นี้ให้น่าสนใจได้อย่างไร
- นักเรียนร่วมกันนำสิ่งที่อยากเรียนรู้มาออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ลงในกระดาษชาร์ต และเขียนสรุปองค์ความรู้ ก่อนการเรียนรู้ในรูปแบบ Mind  Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
                                                                          
ภาระงาน :
 - ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบิล
- การคิดวิเคราะห์ข่าว บทความ
- การระดมความคิด นำเสนอเกี่ยวกับบิลที่ได้รับในชีวิตประจำวัน
- การจัดหมวดหมู่หรือประเภทของบิลพร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามและความคิดเห็นที่ได้ฟัง
- การตั้งชื่อหัวข้อ หน่วย

- การวิเคราะห์สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- การออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
การสรุป Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้

ชิ้นงาน :
- ชื่อ หน่วย
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สรุปการวิเคราะห์ข่าว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยาก   เรียนรู้ รวมทั้งสามารถให้เหตุผลเรื่องที่สนใจได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจาก
ทักษะการเรียนรู้
- ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอในบิล และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมและตอบคำถาม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่ได้ดูกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำ Mind Mapping ก่อนเรียน
- สามารถคิดวิเคราะห์บิล  ข่าว เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น


2

โจทย์ :
ข้อมูลค่าตัวเลข สัญลักษณ์ต่างๆในบิล
Key Questions :
นักเรียนคิดว่าบิลหรือตั๋วแตกต่างกันอย่างไร
นักเรียนคิดว่าเราจะมีวิธีตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและค่าต่างๆในบิลได้อย่างไร และมีวิธีคำนวณอย่างไร

เครื่องมือคิด :
Flow Chart : ที่มาของบิล

สื่อและแหล่งเรียนรู้
บิล ตั๋ว
ห้องสมุด                 - บรรยากาศในห้องเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด ถ้านักเรียนเป็นผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ นักเรียนจะออกบิล  หรืออยากได้บิลแบบไหน
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนกันออแบบบิลใหม่ที่ตองสนองความต้องการของผู้ซื้อและผู้ขาย
- นักเรียนดูบิลจริงนำเสนอแลกเปลี่ยนร่วมกัน
- นักเรียนจับคู่เลือกตั๋วหรือบิล พร้อมทั้งศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของบิลแต่ละประเภท ข้อมูลค่าตัวเลข สัญลักษณ์ต่างๆในบิล การคำนวณ
- นักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนแต่คนนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลและค่าต่างๆที่อยู่ในบิลหรือตั๋ว
- นักเรียนแต่ละคนศึกษาวิธีการคำนวณค่าของตัวเลขที่อยู่ในตั๋วและบิลของตนเอง
- นักเรียนแต่ละคนร่วมกันนำเสนอแลกเปลี่ยนเรื่องที่ศึกษาในรูปแบบ Black board share

นักเรียนแต่ละคนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาในรูปแบบการ์ตูนช่อง
- นักเรียนแต่ละคนจับฉลากเลือกตั๋วหรือบิล พร้อมทั้งศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของบิลแต่ละประเภท ในรูปแบบ Flow Chart
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเราจะมีวิธีตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและค่าต่างๆได้อย่างไร และมีวิธีคำนวณอย่างไร
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของบิลหรือตั๋ว และการอ่านค่าหรือคำนวณบิลของตนเอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ภาระงาน :
 - การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของบิล
- การการตอบคำถาม
- การนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของบิลหรือตั๋ว และการอ่านค่าหรือคำนวณบิลของตนเอง


ชิ้นงาน :
- Flow Chart ที่มาของบิล
- นำเสนอที่มาและค่าสัญลักษณ์ในบิน                      - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
สามารถอธิบายข้อมูล ค่าตัวเลข สัญลักษณ์ต่างๆในบิล รวมทั้งคำนวณค่าในบิลได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำ Mind Mapping ก่อนเรียน
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
 ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผนเนื้อหาและกิจกรรมที่อยากเรียนรู้ให้สอดคล้องกัน
-  คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
3

โจทย์ :
- หน่วยงาน
- ภาษี
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าบิลเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับชีวิตเราอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าภาษีคืออะไร
- นักเรียนคิดว่าทำไมต้องมีการลดหย่อนภาษี
เครื่องมือคิด
Show and  Share :
การนำเสนอ (Power point)เอกสารกำกับภาษี การลดหย่อนภาษี การคำนวณภาษีประเภทต่างๆ


สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บิล
- อินเทอร์เน็ต
ห้องสมุด
บรรยากาศในห้องเรียน
- ครูอ่านข่าวเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงภาษี(พลอย)
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าวที่ได้ฟัง
นักเรียนดูคลิป
- นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนได้ยินคำว่า ภาษี  นึกถึงอะไรบ้าง (Think Pair Share)
- นักเรียนนำเสนอแลกเปลี่ยนร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวภาษี  ดังนี้
1.ภาษีมาจากไหน
2. ภาษีไปไหน( ถนน เงินเรียนฟรี นมโรงเรียน)
3. ทำไมต้องเก็บภาษี
4. การวางแผนการเสียภาษี
5. หน่วยงานการจัดเก็บภาษี
- นำเสนอแลกเปลี่ยนร่วมกัน

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดในชีวิตประจำวันนักเรียนเกี่ยวข้องกับภาษีอย่างไร
- แบ่งกลุ่มร่วมกันเสนอความคิดเห็นพร้อมทั้งนำเสนอร่วมกัน

ตัวอย่างบิล
ภาษีเงินได้  ภาษีบุคคล
- แบ่งกลุ่มนักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลที่แจกให้
   บริจาคเงินให้โรงเรียนเอกชน    ลดหย่อนภาษีได้
- นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและนำเสนอความคืบหน้าของข้อมูลที่ค้นหา
- นักเรียนแต่ละคู่จัดรวบรวมและจัดกระทำข้อมูลในรูปแบบใบความรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาในรูปแบบบทความ
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง
ให้นักเรียนดูภาพ

นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากภาพ
-
- ชักเย่อความคิด
- เล่าเรื่องภาษีในสวีเดน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับบิล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการออกบิล
- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภาษี - การนำเสนอแผนธุรกิจในรูปแบบของตนเอง (Power point)

ชิ้นงาน
- ชาร์ตเกี่ยวกับบิล
- Power point เอกสาร ภาษี การลดหย่อนภาษี                     - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เกี่ยวกับภาษี ที่มาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการออกบิล สามารถนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้กับชีวิตได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
การวางแผนการทำงาน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
 5

โจทย์ : กฎหมาย/สิทธิผู้บริโภค
Key Questions
- นักเรียนคิดว่ากฎหมาย/สิทธิผู้บริโภคเกี่ยวข้องกับบิลอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms  :ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์พร้องทั้งออกแบบการประชาสัมพันธ์
Show and  Share : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการลงมือทำธุรกิจในสัปดาห์แรก (Flow chart)
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- ห้องเรียน
- นักเรียนดูคลิป สิทธิผู้บริโภค
- อ่านบทความเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคไทย...ทำไมไม่เทียมเท่าสากล
- ครูให้นักเรียนวิเคราะห์บทความเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคไทย...ทำไมไม่เทียมเท่าสากล     - ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่ากฎหมาย/สิทธิผู้บริโภคเกี่ยวข้องกับบิลอย่างไร
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น    - นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้
เรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมาย/สิทธิผู้บริโภคผ่าน Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :                                 - การอ่านบทความเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคไทย.
- การร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งออกแบบการประชาสัมพันธ์
- การตอบคำถาม
ชิ้นงาน :
- สะท้อนเกี่ยวกับธุรกิจ ปัญหาที่เกิดขึ้นพร้อมทั้งนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา
- Mind Mapping กฎหมาย/สิทธิผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับ กฎหมาย/สิทธิผู้บริโภครวมทั้งสามารถนำมาปรับใช้กับชีวิตของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
- ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอ และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้

ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะการจัดการข้อมูล
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสรุปความเข้าใจและสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการทำธุรกิจ
 ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
6

โจทย์ :
ประวัติศาสตร์  สังคมวัฒนธรรม หน้าที่พลเมือง
อัตราการแลกเปลี่ยน
สกุลเงิน
Key Questions
- นักเรียนคิดว่ารูปภาพที่อยู่บนเหรียญและธนบัตรของแต่ละประเทศ(ลาว พม่า กัมพูชา ไทย จีน) มีที่มาและความสำคัญอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าเงินในสมัยก่อนกับปัจจุบันมีที่มาและแตกต่างกันอย่างไร
- นักเรียน คิดว่าจากอดีตจนถึงปัจจุบันเงินมีบทบาทหน้าที่ และเกี่ยวข้องนักเรียนกับชีวิตเราอย่างไรบ้าง

เครื่องมือคิด
Brainstorms :การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับที่มาและความแตกต่างของเงินในสมัยก่อน กับปัจจุบัน และจากสิ่งที่ได้ดู
Round  Table : บทบาทหน้าที่ของเงินที่มีความสัมพันธ์กับชีวิต
Show and  Share : นำเสนอ Time line วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ
Wall Thinking : Time line วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ

สื่อและแหล่งเรียนรู้
เหรียญ ธนบัตร
- คลิปวิวัฒนาการเงินตราไทย
- อินเทอร์เน็ต
ห้องสมุด
บรรยากาศในห้องเรียน

 - ครูนำเหรียญ ธนบัตร ชนิดต่างๆทั้งของไทยและต่างประเทศ มาให้นักเรียนดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่ารูปภาพที่อยู่บนเหรียญและธนบัตรของแต่ละประเทศ(ลาว พม่า กัมพูชา ไทย จีน) มีที่มาและความสำคัญอย่างไร
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาที่มาและความสำคัญของเหรียญและธนบัตรอัตราการแลกเปลี่ยน สกุลเงิน ของแต่ละประเทศที่ต้องการศึกษา
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆตามความสนใจ
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด   นักเรียนคิดว่าเงินในสมัยก่อนกับปัจจุบันมีที่มาและแตกต่างกันอย่างไร
- แบ่งกลุ่มนักเรียนจัดกลุ่มลักษณะภาพของเงินให้เป็นหมวดหมู่ตามยุคสมัยและการเปลี่ยนแปลงของในแต่ละประเทศ(ลาว พม่า กัมพูชา ไทย จีน) ตามความเข้าใจ        - นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ ในรูปแบบTime line
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ Time line วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียน คิดว่าจากอดีตจนถึงปัจจุบันเงินมีบทบาทหน้าที่ และเกี่ยวข้องนักเรียนกับชีวิตเราอย่างไรบ้าง
- นักเรียนจับคู่สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมา วิวัฒนาการของเงินแต่ละประเทศในรูปแบบการ์ตูนช่อง
- นักเรียนแต่ละคู่นำเสนอชิ้นงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับที่มาและความแตกต่างของเงินในสมัยก่อน กับปัจจุบัน
- การออกแบบ Time line วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ
ชิ้นงาน
- Time line วิวัฒนาการของเงินที่มีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ และนำเสนอ
- การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมา วิวัฒนาการของเงินแต่ละประเทศ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ สังคมวัฒนธรรม บุคคลสำคัญที่มีความสัมพันธ์กับเงินของแต่ละประเทศ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม


การวางแผนการทำงาน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น

7
โจทย์ :
- ระบบเศรษฐกิจและการเมือง

Key Questions
- ทำไมประเทศเกาหลีต้องแบ่งประเทศเป็นเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้
- ระบบเศรษฐกิจในโลกที่แต่ละประเทศใช้กันเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
- ทำไมจำนวนค่าของเงินบนธนบัตรบางประเทศจึงมีค่าน้อยและมากแตกต่างกัน
เครื่องมือคิด
Round Table :  สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี

Brainstorms : ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
Show and  Share : นำเสนอและแลกเปลี่ยนสิ่งที่ไปศึกษาเรียนรู้
ชักเย่อความคิด : ร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวระบบเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับประเทศไทย (ระบบทุนนิยม กับ ระบบสังคมนิยม)
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปประวัติสงครามเกาหลี
- อุปกรณ์กิจกรรมชักเย่อความคิด (กระดาษ เชือก เทปกาว)
- บรรยากาศในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- ห้องเรียน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดทำไมจำนวนค่าของเงินบนธนบัตรบางประเทศจึงมีค่าน้อยและมากแตกต่างกัน?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
- แบ่งกลุ่มนักเรียน สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ (Round Table)
- ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่ารูปแบบการปกครองมีส่งต่อระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศหรือไม่อย่างไร




- นักเรียนคิดว่ามีประเทศใดอีกบ้างที่มีประวัติศาสตร์สงครามและส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน

- ครูให้นักเรียนจับฉลากเลือกประเทศเพื่อไปศึกษาค้นคว้า และจัดทำข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจลงในสมุดบันทึก เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจและการเมือง (แบ่งเป็น ประเทศที่ปกครองตามแนวคิดการเมืองรูปแบบต่างๆ คือ สังคมนิยม, ทุนนิยม และแบบผสม)

ประเทศที่ศึกษา ได้แก่   คิวบา, เกาหลี, ลาว, เวียดนาม, เยเมน, พม่า,เยอรมัน,ซิมบับเว่ เป็นต้น

- นักเรียนแต่ละคนร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ

- นักเรียนแต่ละคนสร้าง Flow chart สรุปความเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าระบบเศรษฐกิจใดดีที่สุด

- นักเรียนแต่ละคนร่วมกันชักเย่อความคิด นักเรียนชอบระบบเศรษฐกิจแบบไหน (ระบบทุนนิยม กับ ระบบสังคมนิยม)

- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- การร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
- การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ (Round Table)
- การร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปประวัติศาสตร์สงครามเกาหลี
- การศึกษาค้นคว้า และจัดทำข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจลงในสมุดบันทึก
- การร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
- การร่วมกันชักเย่อความคิด ระบบเศรษฐกิจแบบใด เหมาะกับประเทศไทย? (ระบบทุนนิยม กับ ระบบสังคม
ชิ้นงาน :
- สร้าง Flow chart สรุปความเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของระบบเศรษฐกิจ ตามการปกครองรูปแบบต่างๆ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยง และมองเห็นความสัมพันธ์ของระบบเศรษฐกิจของไทยได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
- ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอ และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้

ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะการจัดการข้อมูล
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสรุปความเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการปกครองกับระบบเศรษฐกิจ
 ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา

คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น



8

โจทย์ :
- การออมและการลงทุนประเภทต่างๆ
- ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการออมและการลงทุน

Key Questions
- ทำไมต้องมีธนาคาร
- การออม และการลงทุนมีความจำเป็นอย่างไร

เครื่องมือคิด
Placemat : ร่วมกันวิเคราะห์บทความเกี่ยวกับชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน
Brainstorms : ครู และนักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
Show and  Share : แลกเปลี่ยนนำเสนอการวิเคราะห์บทความร่วมกัน

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บทความเกี่ยวกับชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน
- เกมการออมการลงทุน
- บรรยากาศในห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- ห้องเรียน
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาบทความเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน เช่น รัตนพล ส.วรพิน โอปราห์ วินฟรีย์ เทพ โพธิ์งาม ศิริวัฒน์แซนวิช
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่า(1) ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร
(2) เกิดผลกระทบอย่างไร
(3) นักเรียนได้เรียนรู้อะไร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์บทความในรูปแบบ Placemat
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอการวิเคราะห์บทความร่วมกัน
- ครู และนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนเล่นเกมการออมการลงทุน ของตลาดหลักทรัพย์
ตัวอย่างคำถาม : มานะ เริ่มออมทรัพย์ตั้งแต่อายุ 25 ปี ปีละ 27,800 บาท ด้วยอัตราดอกเบี้ย 7% ต่อปี หากแต่ว่านักเรียนเริ่มออมทรัพย์ตั้งแต่อายุ 40 ปี ดอกเบี้ยปีละ 7% ในอัตราเงินฝากเท่าไร จึงจะมีเงินเก็บมากกว่าหรือเท่ากับมานะ เมื่ออายุครบ 60 ปี (ไม่เกิน 20% ของเงินเก็บของมานะ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการเล่นเกม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  จากเงินห้องที่มีอยู่ นักเรียนแต่ละคนจะเลือกการออมและการลงทุนรูปแบบใดที่คิดว่าจะเกิดประโยชน์สูงสุด                                                         
- นักเรียนแต่ละคนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุน
- นักเรียนแต่ละคนวาดแผนภาพการบริหารจัดการเงินห้องในรูปแบบการออมและการลงทุนตามที่ตนเองสนใจ(เทียบกับแผนการจัดการเงินห้องที่ให้ออกแบบก่อนเรียนรู้อีกครั้ง)
- ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุนประเภทต่างๆ ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- การศึกษาและวิเคราะห์บทความเกี่ยวกับชีวิตคนที่ประสบความสำเร็จและความล้มเหลวในการจัดการเรื่องเงิน
- การแลกเปลี่ยนนำเสนอการวิเคราะห์บทความร่วมกัน
- การอภิปรายเกี่ยวกับบทความร่วมกัน
- การเล่นเกมการออมการลงทุน ของตลาดหลักทรัพย์
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นเกมการออมการลงทุนร่วมกัน
- การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุน
- การอภิปรายเกี่ยวกับรูปแบบการออมและการลงทุนประเภทต่างๆ ร่วมกัน

ชิ้นงาน :
- วาดแผนภาพการบริหารจัดการเงินห้องในรูปแบบการออมและการลงทุนตามที่ตนเองสนใจ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและเห็นความแตกต่างของการออกมและการลงทุนประเภทต่างๆ รวมทั้งสามารถเลือกใช้การออมและการลงทุนที่เหมาะสม

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
- ถ่ายทอดสิ่งที่ได้พบเจอ และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
-  คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหา

คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น



9

โจทย์ : การสรุปและ เผยแพร่องค์ความรู้   ประเมินตนเอง
Key  Questions
 - นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นรับรู้อย่างไรให้น่าสนใจโดยที่ทุกคนได้มีส่วนร่วมและเกิดการเรียนรู้
อะไรที่นักเรียนทำได้ดีแล้ว อะไรที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
เครื่องมือคิด
Round Rubin
เลือกวิธีการถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter 2
Show  and Share
นำเสนอข้อมูลและรูปแบบวิธีการถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
Mind Mapping
สรุปการเรียนรู้ Quarter 2
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ห้องเรียน
กระดาษ 80 ปอนด์
ชุดและอุปกรณ์ที่นักเรียนเตรียมมาสำหรับการแสดง

ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมาและตลอดทั้ง Quarter ที่ 2
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter 2 มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
นักเรียนร่วมกันระดมความคิดเกี่ยวกับการสรุปสิ่งที่เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter 2  เพื่อมาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ                   ( Round Rubin)
- นักเรียนแต่ละคนข้อมูลในรูปแบบการนำเสนอที่น่าสนใจ อาทิเช่น Clip  VDO ชาร์ตภาพเรื่องราว ฯลฯ
นักเรียนแต่ละคนนำเสนอความคืบหน้าของงานตนเอง โดยให้เพื่อนและครูร่วมนำเสนอความคิดเห็น เพื่อเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
ครูและนักเรียนร่วมสรุปตอบคำถามสิ่งที่อยากรู้
- นักเรียนทำ Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียนQuarter 2
- นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์ประเมินตนเอง พร้อมทั้งเขียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
การวางแผนสรุปงานในรูปแบบต่างๆที่น่าสนใจ
การวางแผนการทำงาน
การประเมินตนเอง
ชิ้นงาน
สมุดบันทึกเล่มเล็ก
สารคดีสั้น  ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน Quarter 2
- ประเมินตนเอง
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
สรุปสิ่งที่ตนเองเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผล น่าสนใจ รวมทั้งสามารถประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้
ทักษะ :
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลต่อวงสนทนากลุ่ม
ทักษะการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้อย่างมีคุณค่า
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติต่อหลักสำคัญของการเรียนรู้ด้านการนำเสนอข้อมูลที่มีคุณค่า
 - การอธิบายความหลากหลายของข้อมูล
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น





ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :  ความลับในบิล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2558

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้ 
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ 
(ว 8.1 ม.2/7)

- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (ว 8.1 ม.2/9)
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 (ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น  ศาสนิกชนที่ดี 
(ส1.2.2/2)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(4.1  .2/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
 (4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ   เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
 (1.1.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า
 (1.1 .2 /3 )
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
 (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )

- มีทักษะในการจัดการทำงาน  (ง 1.1 .4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
 (ง 1.1 .4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต  (ง 1.1 .4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(ง 1.1 .4-6 /6 )

มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้ (พ 1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1.3/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน  (3.1.3/2)



มาตรฐาน  พ 3.2
- เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง  (3.2 ม.2/2)
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
 (3.2 ม.3/5)
มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (1.1.2/3)

มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1  .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1  .2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1  .2/3)


- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1  .2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1  .3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน (2.2  .2/2)







สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์บุคคลสำคัญ  สังคมวัฒนธรรม หน้าที่พลเมือง
อัตราการแลกเปลี่ยน
สกุลเงิน

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้ 
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ 
(ว 8.1 ม.2/7)




- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (ว 8.1 ม.2/9)
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 (ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับเงินได้
(4.1  .2/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับเงินและที่ตนเองสนใจ (4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ   เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (1.1.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน             (1.1 .2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (1.1 .2 /3 )
- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ             (1.1 .3 /1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต        (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
  (ง 1.1 .4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต                    (ง 1.1 .4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /6 )
มาตรฐาน  ง 2.1
- เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(ง 2.1 .2 /4)


มาตรฐาน   ง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้  (ง 3.1 .3 /3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ (ง 3.1 .3 /4)
- ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(3.1 .4-6/9)
- อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                           (3.1 .4-6/13)
มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1.3/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน(3.1.3/2)        

มาตรฐาน  พ 3.2
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้                  (3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้           (3.2 ม.3/5)

มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (1.1.2/3)

มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1  .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1  .2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1  .2/3)





- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1  .2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1  .3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(2.2  .2/2)









สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
- ระบบเศรษฐกิจและการเมือง
- ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้ 
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ 
(ว 8.1 ม.2/7)




- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (ว 8.1 ม.2/9)
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 (ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับเงินได้
(4.1  .2/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับเงินและที่ตนเองสนใจ (4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ   เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน     
(1.1.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน             
(1.1 .2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า
 (1.1 .2 /3 )
- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ             (1.1 .3 /1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต    
   (ง 1.1 .4-6 /1 )


- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
  (ง 1.1 .4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต                    (ง 1.1 .4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /6 )
มาตรฐาน   ง 2.1
- เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม                (ง 2.1 .2 /4)

มาตรฐาน   ง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้
 (ง 3.1 .3 /3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ                  
(ง 3.1 .3 /4)
- ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
(3.1 .4-6/9)
- อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                           (3.1 .4-6/13)

มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1.3/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน              (3.1.3/2)

มาตรฐาน  พ 3.2
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้                  (3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้           (3.2 ม.3/5)

มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (1.1.2/3)

มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1  .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1  .2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1  .2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1  .2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1  .3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(2.2  .2/2)


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น